วันพฤหัสบดีที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2558

หน่วยการเรียนรู้ที่ 10 หน้าที่และมารยาทชาวพุทธ

                             
ศาสนาพราหมณ์
ศาสนาพราหมณ์เป็นศาสนาที่เก่าแก่และเชื่อว่าเกิดก่อนพุทธกาลไม่น้อยกว่า ๕,000 ปี  ตลอดจนเป็นต้นตำหรับของศาสนาพุทธ คริสต์ อิสลาม และอื่นๆ อ่านเพิ่ม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 9 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับศาสนา

ความหมายของศาสนา

พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2542 ได้ให้คำนิยามของคำว่า ศาสนา ไว้ว่า ลัทธิความเชื่อถือของมนุษย์อันมีหลัก คือ แสดงกำเนิดและความสิ้นสุดของโลก อ่านเพิ่ม

หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 หน้าที่และมารยาทชาวพุทธ

หน้าที่ชาวพุทธ

        พุทธศาสนิกชนยึดถือพระพุทธศาสนาเป็นสรณะในการดำรงชีวิต ในประเทศไทยประชาชนมากกว่าร้อยละ ๙๕นับถือพระพุทธศาสนาเป็นเวลากว่าพันปีแล้วที่พระพุทธศาสนาได้เข้ามาผสมกลมกลืนกับวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของคนไทย อ่านเพิ่ม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 พุทธสาวก พุทธสาวิกา และศาสนิกชนตัวอย่าง
ประวัติของพุทธสาวก พุทธสาวิกา และชาวพุทธตัวอย่างดังต่อไปนี้ (คลิกดูรายละเอียดในแต่ละชื่อ)
          1.     พระนางมัลลิกา 
          2.  พระอัสสชิ

วันพฤหัสบดีที่ 27 สิงหาคม พ.ศ. 2558

หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิต
พระพุทธศาสนาเน้นเรื่องการฝึกจิตเป็นสำคัญ เพราะมนุษย์มีจิตเป็นตัวนำการ กระทำทุกอย่าง จะต้องมีการพิจารณา คิดนึกตรึกตรองเสียก่อน   การฝึกจิตหรือการบริหารจิต จึงเป็นการกระทำเพื่อให้จิตมีสภาพตั้งมั่น อ่านเพิ่ม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 พระไตรปิฎกและพุทธศาสนสุภาษิต
พระไตรปิฎก : โครงสร้าง ชื่อคัมภีร์และสาระสังเขปของพระสุตตันตปิฎก
ชื่อคัมภีร์และสาระสังเขปของพระสุตตันปิฎก
      พระสูตร หรือที่เรียกในทางวิชาการว่า พระสุตตันปิฎก เป็น 1 ใน 3 ปิฎก มีลักษณะที่แตกต่างออกไปจากพระวินัยปิฎกและ

พระอภิธรรมปิฎก อ่านเพิ่ม

วันพุธที่ 26 สิงหาคม พ.ศ. 2558

หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมสำคัญของพระพุทธศาสนา
        1.ขันธ์ 5 หรือ เบญจขันธ์ คือ องค์ประกอบของชีวิตมนุษย์ที่ประกอบด้วยรูปและนามรูป คือ ส่วนที่เป็นร่างกาย ประกอบด้วยธาตุ 4 ได้แก่

       - ธาตุดิน(ส่วนของร่างกายที่เป็นของแข็ง เช่น เนื้อ กระดูก ผม) อ่านเพิ่ม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาและศาสนพิธี
วันมาฆบูชา : โอวาทปาฏิโมกข์
       ตรงกับวัน ขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๓ หรือ ขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๔ ในปีอธิกมาส  เมื่อสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าได้ตรัสรู้พระสัมมาสัมโพธิญาณภายใต้ต้นอัสสัตถพฤกษ์ ริมฝั่งแม่น้ำเนรัญชรา ตำบลอุรุเวลาเสนานิคม ในวันเพ็ญเดือนวิสาขะ พระองค์ประทับเสวยวิมุติสุขในเขตปริมณฑลนั้นเป็นเวลา ๗ สัปดาห์ จากนั้นจึงเสด็จไป อ่านเพิ่ม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 พุทธประวัติและชาดก


       พระพุทธเจ้ามีพระนามเดิมว่า "สิทธัตถะ" เป็พระราชโอรสของพระเจ้าสุทโธทนะ กษัตริย์ผู้ครองกรุงกบิลพัสดุ์ แคว้นสักกะ ซึ่งปัจจุบันตั้งอยู่ทางภาคใต้ของประเทศเนปาล พระราชมารดาทรงพระนามว่า "พระนางสิริมหามายา" ซึ่งเป็นพระราชธิดาของกษัตริย์ราชสกุลโกลิยวงศ์แห่งกรุงเทวทหะ แคว้นโกลิยะ อ่านเพิ่ม
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ประวัติและคามสำคัญของพระพุทธศาสนา

       ในสมัยพุทธกาล อินเดียหรือชมพูทวีป แบ่งอาณาเขตเป็น 2 เขตคือ
       เขตภาคกลาง เรียกว่า มัชฉิมชนบทหรือมัธยมประเทศ เป็นที่อยู่ของชนชาติอริยกะ หรืออารยัน แปลว่า ผู้เจริญเป็นดินแดนของชนผิวขาว
       เขตรอบนอก เรียกว่า ประจันตชนบทหรือประจันตประเทศ คือ ประเทศปลายเขตเป็นที่อยู่ของชนชาติมิลักขะ หรืออนารยชน อ่านเพิ่ม